Fault Tree Analysis สอน - การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีFault Tree Analysis และการประเมิ

ผู้ทำการวิเคราะห์ เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุด ซึ่งต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างดีในระบบงาน 2. วิธีการใช้ในการวิเคราะห์เพื่อความปลอดภัย ขึ้นอยู่กับต้องการข้อมูลในลักษณะใด ลักษณะกระบวนการผลิต เวลาและงบประมาณ บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ 3. สิ่งที่จะทำการวิเคราะห์ ความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุ ความรุนแรงของ การบาดเจ็บการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อความปลอดภัย 1. การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ( JOB SAFETY ANALYSIS: JSA) 2. การวิเคราะห์แบบฟอล์ท ทรี ( FAULT TREE ANALYSIS:FTA) 3. การวิเคราะห์แบบเฟเลีย โมด์ แอนด์ เอเฟคท์ ( FAILURE MODE AND EFFECT ANALYSIS: FMEA) 4. การวิเคราะห์แบบเค วาย ที ( KIKEN YOSHI TRAINING: KYT) ฯลฯ การวิเคราะห์เพื่อความปลอดภัยด้วย JSA วัตถุประสงค์ "เพื่อค้นหาอันตรายหรืออุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแต่ละส่วนของงานที่ทำ อันเป็นการกระทำพื้นฐานที่จะป้องกันอุบัติเหตุมิให้เกิดขึ้น" หลักการ • เทคนิค JSA เหมาะที่จะใช้วิเคราะห์งานที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยๆ หรือรุนแรง มีขั้นตอนทำงาน ยุ่งยาก และใช้คนเป็นผู้ปฏิบัติ • ผู้ดำเนินการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ควรเป็นคนงาน หัวหน้างาน และวิศวกร • โดยมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย หรือผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยให้คำแนะนำ ขั้นตอนการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน 1.

  1. Example
  2. ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.นพดล กรประเสริฐ เนื่องในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  3. Youtube
  4. Excel
  5. การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีFault Tree Analysis และการประเมิ

Example

เปิดตัวการสัมมนา Root Cause Analysis (RCA) oการแนะนำตัวและประวัติวิทยากร oRoot cause analysis คืออะไร oชนิดของ Root cause analysis oสิ่งที่องค์กรจะได้รับจาก Root cause analysis o8 ขั้นตอนในการทำ RCA oA3 thinking report กับ Root cause analysis 1. การคัดเลือกปัญหา oบริบทของปัญหา oหลักการพิจารณาเลือกปัญหาจาก 5W oหลักการ Scoring method oการอธิบายปัญหาด้วย Input—Process—Output 2. การสร้างทีม RCA oWho? ใครควรจะร่วมทีม oIdea หลักๆของทีมที่สำเร็จ 3. การปรับเปลี่ยน Mindset oการเปลี่ยนวิธีคิด(Mindset) เกี่ยวกับการปรับปรุงงาน oข้อคิดของ Taiichi Ohno, father of TPS-Lean oComfort Zone พนักงงานอยู่ในมุมที่ปลอดภัยไว้ก่อน... ทำไม? oโยนความผิด ปกปิดปัญหา oประเพณีอะไรขององค์กร ที่พนักงานหลบเข้า Comfort zone oนิสัยพนักงานขององค์กรแบบ Top-down เปรียบเทียบกับองค์กร Kaizen oบัญญัติ 10 ประการของ Taiichi Ohno ในการทำ Root cause analysis 4. การเก็บข้อมมูลของปัญหา oรายงานสถิติจากกร้าฟ oGemba เปลี่ยนนิสัย จากเชื่อตัวเลขอย่างเดียว ลงไปดูของจริง oIceberg of ignorance ภูเขาน้ำแข็งของความไม่รู้จริง ในองค์กร oลำดับความสำคัญของข้อมูลด้วย Pareto Diagram oTop 3 problems oWorkshop Pareto chart 5.

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.นพดล กรประเสริฐ เนื่องในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เมื่อต้องทำงานที่ไม่ปกติหรืองานพิเศษ โรงงานมีมาตรการด้านความปลอดภัยอย่างไร – โรงงานได้วางแผนงานและเครื่องไม้เครื่องมืออย่างเพียงพอหรือไม่ – ผู้รับผิดชอบได้พิจารณาด้านความปลอดภัยสำหรับงานพิเศษนั้นหรือไม่ การคัดเลือกและบรรจุคนเข้าทำงาน 1. คนงานที่สมัครงานได้กรอกข้อความในใบสมัครงานครบถ้วนหรือเพียงพอหรือไม่ – คำถามในใบสมัครงานตรงตามที่ต้องการหรือจำเป็นหรือไม่ 2. ขั้นตอนในการคัดเลือกคนงานการสัมภาษณ์เป็นแบบใด 3. ประวัติการทำงานของคนงานและผู้อ้างอิงหรือค้ำประกัน จะตรวจสอบได้อย่างไร 4. ใครเป็นผู้ตัดสินใจขั้นตอนสุดท้ายในการจ้างงาน 5. ก่อนรับคนงานเข้าทำงาน ได้ให้คนงานตรวจร่างกายจากแพทย์หรือไม่ – หากมีการตรวจร่างกายจากแพทย์ ได้ข้อมูลครบถ้วนตามต้องการหรือไม่ – จะนำข้อมูลจากแพทย์ ที่ได้ไปใช้ประโยชน์อย่างไร 6. บริษัทได้ทำการทดสอบความสามารถ ความชำนาญ หรือพื้นความรู้หรือไม่ 7. บริษัทได้ใช้การวิเคราะห์งานมาเป็นประโยชน์ต่อการบรรจุคนงานหรือการสับเปลี่ยนหน้าที่งานอย่างไร การฝึกอบรมและการแนะนำงาน 1. บริษัทมีหนังสือคู่มือหรือเอกสารแนะนำพนักงานใหม่เกี่ยวกับความปลอดภัยหรือไม่ – ใครเป็นผู้จัดทำขึ้น – เนื้อหามีอะไรบ้าง 2.

Youtube

  1. Fault tree analysis สอน tutorial
  2. Ram ecc ราคา parts
  3. Fault tree analysis สอน test
  4. Fault tree analysis สอน code
  5. Teledirect telecommerce งาน
  6. พื้นฐานวิศวกรรม Fault Tree Analysis (FTA) - YouTube
  7. โบ ท็ อก ช่วย เรื่อง อะไร
  8. Boots wax strips ราคา home depot
  9. Fault tree analysis สอน online
  10. การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีFault Tree Analysis และการประเมิ

Excel

บริษัท (หรือโรงงาน) มีระบบความรับผิดชอบพิเศษอื่น ๆ หรือไม่ ระบบที่ใช้ในการระบุปัญหาหรือตรวจหาจุดอันตราย 1. การตรวจสอบสภาพการทำงานได้กระทำเป็นประจำหรือไม่ – ใครมีหน้าที่รับผิดชอบในการตรวจสอบ – มีการตรวจสอบบ่อยครั้งเพียงใด – ทำการตรวจสอบอย่างไร – ทำรายงานการตรวจสอบเสนอใคร – มีการตรวจติดตามผลหรือไม่ ใครทำ 2. การตรวจสอบเป็นพิเศษได้กระทำหรือไม่ – การตรวจสอบความปลอดภัยเฉพาะด้านเช่น หม้อไอน้ำ ระบบไฟฟ้า ลิฟท์ เครน สารเคมี เป็นต้น 3. มีการใช้ระบบตรวจหาจุดอันตรายอื่น ๆ หรือไม่ เช่น – การวิเคราะห์งานความปลอดภัย – การวิเคราะห์หาจุดที่เกิดอุบัติเหตุอันตรายได้ง่าย – การวิเคราะห์แบบ Fault-Tree Analysis – การสุ่มตัวอย่างความปลอดภัย 4. โรงงานมีมาตรการและวิธีการอย่างไรสำหรับความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักรใหม่ วัตถุดิบตัวใหม่ ขบวนการผลิตแบบใหม่ หรือการทำงานโดยวิธีการใหม่ 5. ฝ่ายจัดซื้อมีส่วนรับผิดชอบต่อความปลอดภัยหรือไม่เมื่อสั่งซื้อเครื่องจักร วัตถุดิบ ฯลฯ 6. เมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องแก้ไขข้อบกพร่องให้ถูกต้องใครเป็นผู้ริเริ่มและจะต้องทำอย่างไร มีการติดตามผลหรือไม่ 7. บริเวณใดในโรงงานที่จำเป็นจะต้องให้คนงานใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล – อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่จัดให้คนงานสวมใส่ในขณะปฏิบัติงาน มีความเหมาะสมหรือไม่ เช่น ชนิดของแว่นตานิรภัย ที่อุดหูลดเสียง ผ้าปิดจมูก เป็นต้น – อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมีการทำความสะอาด บำรุงรักษาหรือเปลี่ยนใหม่หรือไม่ – ใครมีหน้าที่ดูแลให้คนงานสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 8.

การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีFault Tree Analysis และการประเมิ

ผู้ดูแลระบบ ข่าวตำแหน่งทางวิชาการ, ข่าวผลงานอาจารย์, ข่าวเก่าย้อนหลังทั้งหมด คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นพดล กรประเสริฐ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา เนื่องในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาวิศวกรรมสำรวจและขนส่ง อนุสาขาวิศวกรรมขนส่ง) ผลงานทางวิชาการ ลำดับ ประเภทผลงาน ชื่อผลงาน 1 ผลงานวิจัย Use of evidence theory in fault tree analysis for road safety inspection 2 Belief reasoning model for mapping public participation in transport planning 3 Use of reasoning maps in evaluation of transport alternatives: inclusion of uncertainty and "I don't know": demonstration of a method เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา รายวิชา ระดับ 251211 กำลังวัสดุ 1 ปริญญาตรี

เลือกงาน ที่จะนำมาวิเคราะห์ เลือกงานที่มีอันตรายรุนแรง เกิดอุบัติเหตุขึ้นบ่อยๆ หรืองานใหม่ที่ยังไม่ทราบอันตราย 2. แบ่งงาน ที่จะวิเคราะห์ออกเป็นขั้นตอน โดยทั่วไปทุกขั้นตอนที่แบ่งออกมาแล้ว ควรมีอันตรายแฝงอยู่ประมาณ 3-10 ขั้นตอน 3. ค้นหาอันตราย หรือแนวโน้มที่จะเกิดอุบัติเหตุ ดังนี้ ลักษณะการทำงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย การลื่น หกล้ม พลัดตก เสียหลัก ถูกหนีบกระแทก เกิดความเมื่อยล้า สิ่งแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตราย เช่น ความร้อน เสียงดัง แสงสว่าง ฝุ่น สารเคมี ความสั่นสะเทือน ความดัน ไฟฟ้า เครื่องจักรและเครื่องมือ เป็นต้น 4. กำหนดมาตรการป้องกัน อันตรายในแต่ละขั้น อาจเป็นมาตรการป้องกันอันตรายในระยะสั้น ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ทันที หรือระยะยาวที่ต้องใช้เวลา โดยมีหลักในการกำหนดมาตรการป้องกันอันตราย 1. การควบคุมที่แหล่งเกิดอันตราย (Source) การเลือกหรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและอันตรายน้อยกว่า – ใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายน้อยกว่า แทนสารเคมีที่อันตรายมากกว่า – จัดระบบการระบายอากาศให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมการทำงาน – ปรับปรุงเครื่องจักร ให้อยู่ในสภาพที่สามารถใช้การได้ดี 2. การควบคุมที่ทางผ่าน (Part) – การจัดเก็บระเบียบรักษาความสะอาด – การระบายอากาศทั่วไป 3.

เมื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการปฐมพยาบาลไม่อยู่หรือลางาน บริษัทได้เตรียมการฝึกอบรมและบริการฉุกเฉินไว้หรือไม่ 6. บริษัทได้วางแผนเพื่อรับมือเกี่ยวกับอุบัติเหตุร้ายแรงหรือไม่ 7. บริษัทได้จัดเตรียมพาหนะรับส่งผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาลไว้หรือไม่ 8. บริษัทได้ติดต่อหรือทำสัญญากับแพทย์ พยาบาล โรงพยาบาล รถพยาบาลสำหรับบริการคนงานของบริษัทหรือไม่ หรือมีทำเนียบไว้หรือไม่ 9. บริษัทได้มีระบบการป้องกันล่วงหน้าสำหรับโรคหรือการบาดเจ็บจากการทำงานหรือไม่ 10. บริษัทได้จัดให้มีการศึกษาอบรมเกี่ยวกับอนามัยในการประกอบอาชีพหรือไม่ … บทความคัดลอกมาจาก

Download No category การวิเคราะห์สภาพการแพร่กระจายของฝุ่นหน้าพร บทที่ 2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหอเผาทิ้ง การเตรียมตัวและการปฏิบัติตนในการเข้าฝึกงาน แผนบริหารจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืน การเติบโตทางเศรษฐกิจและความยากจน Lean หรือ ระบบการผลิตแบบโตโยต้า การปรับปรุงกระบ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้กลยุทธ์กา คู่มือสื่อการสอนวิชา............................................ ตอน............ Document ผลการวิจัย - วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ดาวน์โหลดโปรแกรมทัวร์ อาเมเนีย + สถิติอุบัติเหตุและกรณีศึกษาอัคคีภัย to a yoo 56 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนดีศรีแผ่นดินและ

บริษัทได้ใช้วิธีมาตรฐานสำหรับการบันทึกสถิติเกี่ยวกับอัตราความถี่และอัตราความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุหรือไม่ (Frequency and Severity Rate) 3. ใครเป็นผู้พิจารณา และใช้สถิติเหล่านี้ 4. การวิเคราะห์ประเภทใดจะใช้กับสถิติเหล่านี้ – การวิเคราะห์ทุกวัน – การวิเคราะห์ทุกสัปดาห์ – การวิเคราะห์ทุกเดือน – การวิเคราะห์ทุกปี – การวิเคราะห์เป็นแผนก ๆ – การวิเคราะห์ต้อนทุนหรือค่าใช้จ่าย – อื่น ๆ 5. ขั้นตอนการสืบสวนอุบัติเหตุมีอะไรบ้าง – สภาพการณ์และเงื่อนไขซึ่งก่อให้เกิดอุบัติเหตุอะไรบ้างที่จะได้รับการสอบสวนวิเคราะห์ – ใครเป็นผู้ทำการสอบสวน – การสอบสวนทำเมื่อไร – ผู้สอบสวนจะต้องเขียนรายงานเสนอแบบใด – รายงานผลการสอบสวนจะถึงมือใคร – จะใช้การติดตามผลแบบใด – ใครเป็นผู้ทำการติดตามผล โครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 1. การปฐมพยาบาล (First aid) อะไรบ้างที่จัดเตรียมไว้สำหรับงานทุกกะ เช่น ตู้ยา เครื่องมือ เครื่องใช้ทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ด้านนี้ เป็นต้น 2. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานการปฐมพยาบาลมีคุณสมบัติอะไร 3. มีคู่มือทางการแพทย์และการใช้ยาสำหรับการปฐมพยาบาลหรือไม่ 4. ขั้นตอนขอใช้บริการปฐมพยาบาลยุ่งยากหรือไม่ 5.