อาราธนา พระ ธรรม

คำอาราธนาธรรม (พร้อมคำแปล) - YouTube

อารธนาศีล อาราธนาพระปริตร อาราธนาธรรม

อาราธนา พระ ธรรม ศักดิ์ pantip

ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี อาราธนา (อ่านว่า อาราดทะนา) แปลว่า การทำให้ยินดี, ทำให้ดีใจ, ทำให้หายโกรธ, ทำให้ชอบ, ทำให้สำเร็จ อาราธนา ในคำวัดใช้ในความหมายว่าเชิญ, เชื้อเชิญ, อ้อนวอน, ร้องขอภิกษุสามเณรให้ยินดีพอใจทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือร้องขอให้ทำสิ่งใดให้สำเร็จ เช่น อาราธนาศีล คือร้องขอให้พระให้ ศีล อาราธนาพระปริตร คือร้องขอให้พระ สวดมนต์ อาราธนาธรรม คือร้องขอให้พระแสดง ธรรม อาราธนาไปทำบุญบ้าน คือนิมนต์พระไปทำพิธีที่บ้าน อาราธนา เป็นคำที่ใช้แทนคำว่า นิมนต์ แต่ไม่นิยมใช้คู่กันเป็น อาราธนา นิมนต์ อ้างอิง [ แก้]

หมายถึง

(คำแปล) ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญฯ คำถวายสังฆทาน (ประเภทอุทิศผู้ตาย) อิมานิ มะยัง ภันเต, มะตะกะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, มะตะกะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัญเจวะ, มาตาปิตุอาทีนัญจะ, ญาตะกานัง, กาละกะตานัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.

  1. พฺรหฺมา จ โลกาธิปตี (บทอาราธนาธรรม) - GotoKnow
  2. การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร - YouTube
  3. อาราธนา พระ ธรรม คือ

แปลว่า

อาราธนา พระ ธรรม แปลว่า

อาราธนา - วิกิพีเดีย

Copyright 2022 - อนุญาตให้คัดลอกเพื่อเผยแพร่ธรรมะได้ คำอาราธนาพระปริตร วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสัทธิยา สัพพะ ทุกขะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะ ภะยะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง สัพพะ โรคะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง ข่าวสารงานบุญและประชาสัมพันธ์

ละเว้นการฆ่าสัตว์ เพราะสัตว์ทุกชีวิต ล้วนรักสุข เกลียดทุกข์ ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ต้องการให้ใครมาฆ่า และที่น่าพิจารณา คือ จะต้องไม่มีการเบียดเบียนด้วย ไม่ใช่ละเว้นเพียงการฆ่าอย่างเดียว ๒. ละเว้นการถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้มาเป็นของตน แสดงให้เห็นตามความเป็นจริงว่า แม้เพียงความคิด ถ้าเป็นผู้ที่ละเอียดจริงๆ ก็จะเห็นได้ว่า บางคนชอบของของคนอื่น แต่ลองคิดดู สิ่งที่ท่านชอบ เจ้าของเขาต้องชอบด้วยเช่นกัน ในเมื่อท่านยังชอบของของเขา เขาก็ต้องชอบของของเขาด้วย เพราะฉะนั้น ถ้าเป็นผู้ที่ละเอียดจริงๆ แม้ความคิดก็ไม่ควรที่จะคิดต้องการถือเอาสิ่งของที่ไม่ใช่ของคนอื่นมาเป็นของตน ๓. ละเว้นการประพฤติผิดในกาม ไม่ประพฤติผิดในบุตรธิดา ภรรยา สามี ของผู้อื่น ถ้าเว้นได้ ก็เป็นการให้ความปลอดภัยแก่บุคคลเหล่านั้นอย่างแท้จริง ๔. ละเว้นจากการพูดมุสาวาท คือ คำพูดที่ไม่จริง เพราะเหตุว่าคำพูดที่ไม่จริง ไม่มีใครชอบเลย แม้แต่ธรรมที่ไม่จริง ไม่ถูกต้อง ไม่มีเหตุผล ก็เป็นมุสาวาท เพราะเหตุว่าไม่ใช่ความจริง พูดสิ่งที่ไม่ตรงกับลักษณะของสภาพธรรม ทุกเรื่องที่เป็นมุสาวาท คือ คำไม่จริง แม้เพียงเล็กน้อย ต้องเป็นผู้เห็นโทษจริงๆ แล้วก็มีวิริยะที่จะงดเว้น ไม่พูดคำที่ไม่จริง แม้เป็นเรื่องที่ท่านอาจจะเห็นว่า ไม่เป็นโทษกับคนอื่น แต่ว่าการเสพคุ้นบ่อยๆ จะทำให้เป็นผู้คุ้นเคยกับการกล่าวมุสาวาทได้ง่าย และยิ่งเห็นว่า ไม่เป็นโทษเป็นภัย ก็ยิ่งกล่าวไปเรื่อยๆ พอกพูนอกุศลเป็นเรื่อยๆ จนหนาแน่นขึ้น เป็นผู้ไม่ตรงต่อความจริง ๕.

  1. ท่าเรือ ดอนสัก เกาะพะงัน
  2. ฤดู ใน โตเกียว โนบรา
  3. อาชีพ ประเภท investigative
  4. รถ benz suv 2019