ข้อสอบ คํา สมาส

ข้อใดมีคำสมาสที่มีสนธิทุกคำ ก. โลกาภิวัตน์ เอกภพ ศานติสุข ข. สิงหาสน์ วชิราวุธ นิลุบล ค. อัพพรรณรังสี อิทธิฤทธิ์ ปริศนา ง. มโหฬาร เจตนารมณ์ เบญจเ คำตอบ จำเป็นต้องเข้าสู่ระบบในการโพสต์คำตอบ ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง? เมื่อดูคำถามนี้แล้ว ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉 สมุดโน้ตแนะนำ

ข้อสอบคําสมาส

คำสมาสแบบสนธิ (เข้าใจวิธีการง่าย ๆ แถมท้าย Trick พิชิตข้อสอบ) - YouTube

คำซ้อนเพื่อความหมาย เกิดจากการนำคำมูลที่มีความหมายเหมือนกัน คล้ายกัน หรือตรงกันข้าม มารวมกัน เกิดเป็นคำใหม่มีความหมายใหม่ หรือเป็นการย้ำความหมายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เราจึงแบ่งคำซ้อนเพื่อความหมายได้อีก ๒ ประเภทตามความหมาย คำที่นำมาซ้อนกัน ได้แก่ ๑. ๑ จำแนกโดยใช้เกณฑ์ด้านความหมายของคำที่นำมาสร้าง ๑. ๑. ๑ คำซ้อนเพื่อความหมายที่เกิดจาก คำมูลที่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกัน มาเรียงต่อกัน เช่น บ้านเรือน รกร้าง ชั่วร้าย ดีเลิศ นิดหน่อย เหนี่ยวรั้ง หดหาย รูปภาพ ดูแล มองเห็น ราบลุ่ม พลาดพลั้ง ๑. ๒ คำซ้อนเพื่อความหมายที่เกิดจาก คำมูลที่มีความหมายตรงกันข้ามกัน มาเรียงต่อกัน เช่น สูงต่ำ ชั่วดี เช้าเย็น ก่อนหลัง ขาวดำ ดีเลว ๑. ๒ จำแนกโดยใช้เกณฑ์ด้านความหมายของคำที่สร้างขึ้นแล้ว ๑. ๒. คำซ้อนเพื่อความหมายที่ทำให้ความหมายของคำ ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง รูปร่าง พัดวี เลือกสรร ซื่อสัตย์ หลงเหลือ ๑. คำซ้อนเพื่อความหมายที่ทำให้ความหมายของคำ เฉพาะเจาะจงกว่าเดิม เช่น ปัดกวาดเช็ดถู หัวหู ญาติโยม เนื้อตัว ๑. ๓. คำซ้อนเพื่อความหมายที่ทำให้ความหมายของคำ กว้างกว่าเดิม เช่น ลูกหลาน พี่น้อง ถ้วยชาม ข้าวปลา ๑.

  1. แนะนำเว็บVenus Casino เว็บพนันออนไลน์คุณภาพ : ufanewss
  2. คำสมาสแบบสนธิ (เข้าใจวิธีการง่าย ๆ แถมท้าย Trick พิชิตข้อสอบ) - YouTube
  3. ส เป ค huawei y7 2019 disassembly
  4. หลักการจำคำสมาสง่ายนิดเดียว โดย คุณอรพรรณ: แบบทดสอบ
  5. ราคา honda adv 300
  6. คอร์สออนไลน์ เรียนภาษาเยอรมัน เริ่มต้นจากศูนย์ | SkillLane
  7. วิธี print ซองจดหมาย (ตั้งค่าพิมพ์ซองจดหมาย) - YouTube
  8. ม.3 โน้ตของ [สอบปลายภาค] คำสมาส-สนธิ - Clearnote
  9. ขายค็อกเกอร์ สเปเนียน มากที่สุดและปลอดภัยที่สุด ในประเทศ
  10. เรียนรู้หลักการสร้างคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิ - NockAcademy
  11. เด็ก ฟัน เหลือง ดํา

แบบทดสอบ เรื่องคำสมาส จำนวน 10 ข้อ 10 คะเเนน 1. ข้อใดเป็นคำสมาส ก. ชีวประวัติ ข. เทพเจ้า ค. ภูมิลำเนา ง. พระพุทธเจ้า 2. ราชานุญาต ข. ราชาคณะ ค. ราชามาตย์ ง. ราชานุเคราะห์ 3. ข้อใดไม่ได้อ่านอย่างคำสมาส ก. สวัสดิการ ข. สารคดี ค. บรรษัท ง. ทศนิยม 4. วาทศิลป์"แปลตามหลักคำสมาสว่าอย่างไร ก. ศิลปะและวาทะ ข. วาทะและศิลปะ ค. ถ้อยคำที่เป็นศิลปะ ง. ศิลปะแห่งถ้อยคำ 5. ข้อใดเป็นลักษณะของคำสมาส ก. คำไทยประสมกันตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไป ข. คำประสมที่มาจากภาษาบาลีและคำไทย ค. คำที่ประสมคำบาลีกับคำภาษาอื่น ง. คำที่ประสมคำบาลีหรือคำสันสกฤต 6. ข้อใดไม่ใช่คำสมาส ก. ภาษาไทย ข. วิทยาศาสตร์ ค. สังคมศึกษา ง. พานิชยกรรม 7. ธุรการ ข. ปกครอง ค. กิจกรรม ง. วิชาการ 8. ประวัติบุคคล ข. ประวัติกวี ค. ประวัติการณ์ ง. ประวัติสุนทรภู่ 9. พุทธบริษัท ข. คุรุสภา ค. สันติธรรม ง. พลเรือน 10. พระสลา พระเขนย ข. พระขรรค์ พระจันทร์ ค. พระเนตร พระพักตร์ ง. พระบาท พระชงฆ์ เฉลย 1. ข 2. ข 3. ค 4. ง 5. ง 6. ก 7. ข 8. ค 9. ง 10. ก

เรียนรู้หลักการสร้างคำสมาสแบบสมาส และคำสมาสแบบสนธิ - NockAcademy

อธิ + อาศัย เปลี่ยนสระอิ เป็น ย. กลายเป็น อธย+อาศัย เมื่อรวมกันจะได้คำว่า อธยาศัย หรืออัธยาศัย เปลี่ยนสระอุ ( -ุ) สระอู ( -ู) เป็นพยัญชนะตัว ว. ธนู+อาคม เปลี่ยนสระอู เป็น ว. กลายเป็น ธนว + อาคม เมื่อรวมกันจะได้คำว่า ธนวาคม หรือธันวาคม 3. ให้ใช้การสนธิพยัญชนะ หรือการเชื่อมด้วยพยัญชนะ ตัดพยัญชนะตัว ส. ท้ายคำแล้วเชื่อมด้วยคำด้านหลัง ทุรส + กันดาร ตัดตัว ส. ของคำว่า ทุรส รวมกันจะกลาย เป็นคำว่า ทุรกันดาร นิรส + ภัย ตัดตัว ส. ของคำว่า นิรส รวมกันจะกลาย เป็นคำว่า นิรภัย ตัดพยัญชนะตัว ส. ท้ายคำหน้าออก แล้วเปลี่ยนเป็น สระโอ ( โ-) เพื่อเชื่อมกับคำหลัง มนัส + คติ ตัดตัว ส. ของคำว่า มนัส รวมกันจะกลายเป็น คำว่า มโนคติ ร หส + ฐาน ตัดตัว ส. ของคำว่า รหส รวมกันจะกลายเป็น คำว่า รโหฐาน ตัดพยัญชนะตัว ส. ท้ายคำหน้าออก แล้วเปลี่ยนเป็น พยัญชนะตัว ร. เพื่อเชื่อมกับคำหลัง นิส + คุณ ตัดตัว ส. ของคำว่า นิส แล้วเปลี่ยนเป็นตัว ร. รวมกันจะกลายเป็นคำว่า นิรคุณ ทุส + ชน ตัดตัว ส. ของคำว่า ทุส แล้วเปลี่ยนเป็นตัว ร. รวมกันจะกลายเป็นคำว่า ทุรชน หรือทรชน นฤคหิตสนธิ คืออะไร? เป็นการสนธิของคำที่มีตัวนฤคหิต (๐) กับคำมูล โดยจะใช้การเปลี่ยนพยัญชนะท้ายของคำด้านหน้าตาม 2 หลักการดังต่อไปนี้ หลักการสร้างคำแบบนฤคหิตสนธิ (1) เปลี่ยนนฤคหิตตัวท้ายของคำแรกเป็นตัว ม.

"เหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ลำบากลำบน" เพื่อน ๆ ลองมาเดากันดีกว่าว่าตัวอย่างคำที่ StartDee ยกมาเนี่ยจะสื่อถึงอะไรกันแน่ ติ๊กตอก ๆ นี่มันความรู้สึกตอนเป็นนักเรียนรึเปล่า /ตึ่งโป๊ะ! ไม่ใช่! คำเหล่านี้ที่เรายกมาคือคำซ้อนต่างหาก แต่คำซ้อนคืออะไร และเราจะแยกคำซ้อนแต่ละประเภทออกจากกันยังไง วันนี้ StartDee จะพาไปดู!

  • ๑. คำที่สมาสกันต้องเป็นคำบาลี สันสกฤตเท่านั้น อาจจะเป็นบาลีสมาสกับบาลี เช่น ทิพโสต ขัตติยมานะ สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต เช่น อักษรศาสตร์ บุรุษโทษ บาลีสมาสกับสันสกฤต เช่น วิทยาเขต วัฒนธรรม
  • ๒. คำสมาสไม่ต้องประวิสรรชนีย์หรือมีเครื่องหมายทัณฑฆาตที่อักษรสุดท้ายของคำหน้า เช่น ศิลปกรรม ธุรการ สัมฤทธิ์บัตร วารดิถี
  • ๓. คำสมาสเมื่อแปลความหมายเป็นภาษาไทยมักแปลย้อนหลังจากคำหลังไปหาคำหน้า เช่น นิตยสาร หมายถึง สารที่ออกเป็นนิตย์
ครูประสงค์ดอทเน็ต หลักเกณฑ์ของคำสมาส 6.
  • มีหลายคำที่ไม่นิยมอ่านเนื่องเสียงระหว่างคำ แต่จริง ๆ ก็เป็นคำสมาส เช่น ชาตินิยม ปฏิบัติการ อุโบสถศีล เหตุการณ์ สาธกโวหาร ปทุมธานี สุพรรณบุรี
  • คำต่อไปนี้ไม่ใช่คำสมาส ได้แก่ ทุนนิยม อนุกาชาด สรรพสิ่ง คุณค่า พระเจ้า ผลไม้ พลความ พระที่นั่ง พลเมือง พลังงาน ราชดำเนิน กระยาหาร ชำนาญศิลป์ บันเทิงสถาน คริสต์จักร
ครูประสงค์ดอทเน็ต แนวคิด 7.
  • คำไหนมี " ะ " หรือ ตัวการัน ระหว่างคำ คำนั้นไม่ใช่คำสมาสเลย เช่น กิจจะลักษณะ วิพากษ์วิจารณ์ พิมพ์ดีด
  • คำไหนอ่านเนื่องสียง ( อ่านเสียงสระตรงกลางคำ) แล้วเป็นคำแขกทั้งคู่แสดงว่าเป็นคำสมาส เช่น ธุรการ วารดิถี เยาวชน เอกภาพ ราชกิจ
ครูประสงค์ดอทเน็ต เคล็ดลับการทำข้อสอบเรื่อง คำสมาส 8.

ครูประสงค์ดอทเน็ต เกมมหาสนุก 26. ครูประสงค์ดอทเน็ต เซียนคำสมาส เติมคำให้ถูกต้องนะคะ ล ร คำใบ้ มีความหมายว่า ลำน้ำ ทะเล คำใบ้ มีความหมายว่า เอกสารแสดงการเป็นหนี้เงินกู้ พ ร ธ คำใบ้ มีความหมายว่า ผู้ดำเนินรายการ 27. ครูประสงค์ดอทเน็ต เซียนคำสมาส เติมคำให้ถูกต้องนะคะ ช คำใบ้ มีความหมายว่า ถิ่นกำเนิด คำใบ้ มีความหมายว่า สิ่งที่เป็นศิลปะ ป โ ร คำใบ้ มีความหมายว่า ยิ่งใหญ่ กว้างใหญ่ 28. ครูประสงค์ดอทเน็ต เฉลย (เซียนคำสมาส) ๑. คำตอบคือ ชลธาร ๒. คำตอบคือ พันธบัตร ๓. คำตอบคือ พิธีกร ๔. คำตอบคือ ชาติภูมิ ๕. คำตอบคือ ศิลปกรรม ๖. คำตอบคือ มโหฬาร 29. ขอบคุณโรงเรียนสิรินธรจังหวัดสุรินทร์ ผู้ให้ข้อมูล ครูประสงค์ดอทเน็ต