ใบ หม่อน เลี้ยง ไหม / ไหม - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

การตลาด การประกอบการเลี้ยงไหม จะต้องมีการตกลงกันระหว่างผู้เลี้ยง ซึ่งอาจเลี้ยงขายรัง หรือเลี้ยงเพื่อขายเส้นไหม ฉะนั้น โรงงานกับผู้เลี้ยงไหมจะต้องมีข้อตกลงกันเป็นอย่างดี เรื่องนี้ต้องถือเป็นเรื่องนโยบายที่สำคัญยิ่ง ๙. การวางเป้าหมาย ก็เป็นเรื่องสำคัญ การเริ่มประกอบอาชีพนั้นต้องวางเป้าหมายให้มีรายได้สูงกว่าพืชเศรษฐกิจอย่างอื่น เพื่อชักจูงให้มีสมาชิกหรือจำนวนผู้เลี้ยงเพิ่มขึ้น ผู้ประกอบอาชีพและโรงงานก็จะมีฐานะมั่นคงด้วย ๑๐. การเลี้ยงไหมใช้ระยะเวลาสั้น และมีรายได้สูง ปีหนึ่ง ๆ สามารถเลี้ยงได้หลายครั้ง ผิดกับพืชอื่นซึ่งจะปลูกได้เพียง ๑ หรือ ๒ ครั้งเท่านั้น อย่างไรก็ดี การเลี้ยงไหมมีความยุ่งยากและวิธีการสลับซับซ้อนกว่าการปลูกพืชอื่นมาก นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องอาศัยแรงงานคนเป็นสำคัญอาจใช้เครื่องจักรช่วยได้บ้างไม่มากนัก การเลี้ยงไหมเป็นงานเบา ทำได้ตั้งแต่คนสูงอายุลงมาถึงเด็ก การเลี้ยงไหมปีละ ๖-๗ ครั้ง จะสิ้นเปลืองเวลาเพียง ๒๐๐-๒๕๐ วันเท่านั้น ขายได้ราคาสูงเทียบกับพืชอย่างอื่นในจำนวน ๑ กก. เท่ากัน ๑๑. การเลี้ยงไหมจะต้องใช้ความเอาใจใส่ละเอียด มีความสังเกตอาการผิดปกติของตัวไหมพิถีพิถัน จะปล่อยปละละเลยดูแลเป็นครั้งเป็นคราวแล้วไปทำงานอื่นไม่ได้ จะต้องอยู่ดูแลตลอดจนกว่าจะเก็บไหมเข้าจ่อ จึงต้องเหน็ดเหนื่อยมาก แต่ได้รับผลตอบสนองที่คุ้มค่า ความรู้ด้านการเกษตร ที่น่าสนใจ

Pantip

หม่อน (mulberry) หรือมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morus alba มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน มีอายุนานได้มากกว่า 100 ปี หากไม่มีปัจจัยด้านโรคมารบกวน สำหรับประเทศไทยพบมีการปลุกมากในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อการผลิตเส้นใยไหม และผ้าไหม มีชื่อเรียกแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่น เช่น ภาคอีสานเรียก มอน ภาษาจีนเรียก ซังเยี่ย เป็นต้นลักษณะเด่นของหม่อนเป็นไม้ทรงพุ่ม สูงประมาณ 2-5 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง 8-15 ซม. ยาว 10-15 ซม. ด้านขอบใบมีรอยหยัก ใบมีลักษณะสาก ส่วนดอกมีสีขาวหม่นหรือแกมเขียว ออกเป็นช่อ ผลมีลักษณะเป็นผลรวม เมื่อสุกจะมีแดง สีม่วงแดง สุกมากจะมีสีดำ ตามลำดับ มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว คุณค่าทางโภชนาการ – โปรตีน 1. 68 กรัม – คาร์โบไฮเดรต 21. 35 กรัม – ไขมัน 0. 47 กรัม – เส้นใย 2. 03 กรัม – แคลเซียม 0. 21 มิลลิกรัม – ฟอสฟอรัส 0. 07 มิลลิกรัม – เหล็ก 43. 48 มิลลิกรัม – วิตามินซี 25 มิลลิกรัม – วิตามินเอ 50. 65 มิลลิกรัม – วิตามินบีหนึ่ง 3. 66 มิลลิกรัม – วิตามินบีสอง 930. 10 มิลลิกรัม – วิตามินบีหก 6. 87 มิลลิกรัม – กรดโฟลิก 3. 42 มิลลิกรัม – ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 5.

5% (คลอรีน 60% จำนวน 1 ส่วนผสมกับปูนขาว 17 ส่วน) 4) เตรียมแกลบเผาและ/หรือ ปูนขาวโรยบนตัวไหมในระยะหนอนไหม เพื่อลดความชื้น 5) เตรียมภาชนะใส่เศษใบหม่อนและมูลไหม การเลี้ยงไหม วิธีการเลี้ยงไหมวัยอ่อน(วัย 1 – 3) วิธีเลี้ยงไหมวัยแก่ (วัย 4 – 5) – ให้ใบหม่อนหั่นประมาณ 80 กรัม โรยให้สม่ำเสมอ หลังจากนั้นให้ใบหม่อนเลี้ยงไหมอีก 2 ครั้งในวันแรกนี้ – เพื่อ ป้องกันใบหม่อนเหี่ยวเร็วและควบคุมความชื้นให้เหมาะสมกับหนอนไหมวัยอ่อนควร คลุมด้วยใบตองหรือผ้าชุบน้ำหมาดๆ หรือแผ่นพลาสติกที่สะอาด 2. การให้อาหาร ไหมจะเจริญเติบโตได้ดีต้องกินใบหม่อนสด มีคุณภาพดี ปริมาณเพียงพอ ตามเวลาที่กำหนดโดยเลี้ยงวันละ 3 มื้อ กลางวันให้ 2 เท่าของมื้อเช้า ส่วนมื้อเย็นให้ 4 เท่าของมื้อเช้า เนื่องจากระยะเวลากินยาวกว่า ใช้ปริมาณใบหม่อนประมาณ 22 – 25 กิโลกรัม/แผ่น(กล่อง) สำหรับการเลี้ยงไหมแบบสหกรณ์ จะใช้ใบหม่อนประมาณ 8 – 9 กิโลกรัม/แผ่น (กล่อง) 1. ระยะการเลี้ยงแต่ละวัย – วัยที่ 4 ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3 วัน นอน 11/2 วัน – วัยที่ 5 ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 6 – 7 วัน ไหมจะสุกทำรัง 2. การปฏิบัติในการเลี้ยงไหมวัยแก่ – ไหมวัย การเก็บและการให้ใบหม่อน การเก็บใบหม่อนเลี้ยงไหมวัยอ่อน ควรเก็บใบหม่อนให้เหมาะสมกับวัยดังนี้ – วัยที่ 1 เก็บใบใต้ยอดลงมาใบที่ 1 – 3 หรือเด็ดยอด – วัยที่ 2 เก็บใบต่ำลงมาใบที่ 4–6 หรือใช้กรรไกรตัดกิ่งใบที่ 1 – 6 – วัยที่ 3 เก็บใบต่ำลงมาใบที่ 7–10 หรือใช้กรรไกรตัดกิ่งใบที่1–10 หรือตัดใบกิ่งสีเขียว การให้ใบหม่อน – วัยที่ 1 ให้หม่อนหั่นมีขนาดกว้าง 0.

ประโยชน์ของใบหม่อน แนวทางการใช้ใบหม่อนเพื่อสุขภาพ ตัวอย่างเมนูอาหาร และข้อควรระวัง เผยแพร่ครั้งแรก 6 พ. ค. 2019 อัปเดตล่าสุด 17 พ. ย. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 26 ส. 2019 เวลาอ่านประมาณ 3 นาที ถ้าพูดถึงใบหม่อน คนทั่วไปมักจะนึกถึงพืชชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาเป็นอาหารให้กับหนอนไหม แต่จริงๆ แล้วพืชชนิดนี้เป็นสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้รับประทานเป็นยาได้ตามตำรับยาโบราณของชาวจีน นอกจากนี้ยังมีการนำมาตากแห้งเพื่อทำเป็นชา และใช้ประกอบอาหารอื่นๆ อีกด้วย แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ สั่งยา ปรึกษาข้อมูลเบื้องต้น จากร้านยาใกล้บ้านคุณได้ง่ายๆ เริ่มจากแชทกับเภสัชกรที่มีใบอนุญาตผ่านแอปของเรา ฟรี!

ไหม - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แนะนำหม่อนพันธุ์สกลนคร สกลนคร 85 และ ศรีสะเกษ 84 เป็นพันธุ์หม่อนที่เหมาะสมในการเลี้ยงไหมอุตสาหกรรม มีคุณสมบัติในการให้ใบที่มีคุณภาพดี ผลผลิตสูงและทดทานต่อความแห้งแล้ง วันนี้ (18 มี. ค. )

พันธุ์หม่อน-ไหม พันธุ์ดี. [แผ่นพับ]. กรุงเทพฯ: กรมหม่อนไหม feng_shui (2550). "หม่อน"…หยาดเพชรในใจของทุกคน. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก.

การดูงานและศึกาตามศูนย์วิจัยฯ สถานีทดลองต่าง ๆ และกสิกรหรือเอกชนที่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงไหมมาแล้ว หัวข้อใหญ่ ๆ ที่น่าจะศึกษา ก. การปลูก บำรุงรักษา ตัดแต่งทำอย่างไร เมื่อไร ข. เก็บเกี่ยวอย่างไร มากน้อยเพียงใด จะพอเหมาะกับการเลี้ยงแต่ละครั้ง ค. อุปกรณ์ในการเลี้ยงไหมมีอะไรบ้าง เขาใช้กันอย่างไร เมื่อใด หากได้ศึกษาจากผู้ที่รู้และทำอยู่ก่อนแล้วจะสะดวกในการเริ่มต้น ในด้านสวนหม่อน อาจไม่ต้องปลูกครั้งละ ๕๐ หรือ ๑๐๐ ไร่ เพื่อจะเลี้ยงไหมครั้งละ ๒-๓ กล่อง อาจปลูกเริ่มต้นเพียง ๖-๑๐ ไร่ และทะยอยปลูกไปเรื่อย ๆ จะทำให้ภาระในการดูแลรักษาน้อยลงอย่างมาก สำหรับผุ้เลี้ยงไหมไทย ๑ แม่จะใช้ใบหม่อน ๓-๕ กก. หนึ่งแผ่นจะวางไข่ ๕๐-๖๐ แม่ จะเลี้ยงได้รังสด ๑๐ กก. สาวเป็นเส้นได้ ๑ กก. (รังสด ๑, ๕๐๐ รัง ชั่งได้ประมาณ ๑ กก. )จะใช้ใบหม่อนเพียง ๓๐๐ กก. หรือประมาณ ๑-๒ ไร่เท่านั้น ๔. การจัดการเวลาเลี้ยงให้เหมาะ หรือตรงตามความต้องการของตลาดหรือความต้องการของโรงอบแห้งรังไหม หรือโรงสาวไหม การเลี้ยงไหมเพื่อขายรังสดจะดีกว่า เนื่องจากโรงอบแห้งรังไหมจะอบครั้งละประมาณ ๙-๑๒ ตัน ผู้เลี้ยงจะต้องส่งรังไหมจำหน่ายให้พร้อมกันและพอเพียงสำหรับการอบแต่ละครั้ง เพราะโรงอบก็มีค่าใช้จ่ายสูง อบครั้งละน้อยไม่ได้ ค่าอบนั้นประมาณ ๔-๕ บาท ต่อ ๑ กก.

การเลี้ยงไหม | silk&sericulture

  1. Aspire sukhumvit onnut ขาย 6
  2. ใบ หม่อน เลี้ยง ไหม กับ มั้ย
  3. ไหม - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
  4. เสื้อ ยืด hybrid
  5. ใบ หม่อน เลี้ยง ไหม มั้ย
ใบ หม่อน เลี้ยง ไหม เป็นวัสดุที่ได้จากเส้นใยข้อใด

Siamese kittenz

4กล่อง หรือกระดาษพาราฟิน 4 ตารางเมตร – ตะแกรงร่อนแป้ง (ชนิดตาถี่) 1 อัน – ตาข่ายสำหรับถ่ายมูลไหมวัยอ่อน 8 ผืน (ขนาดช่องตาข่าย 1 x 1 ซม. 2) ขนาด 100 x 80 ซม. – จ่อหมุน 15 ชุด – หรือจ่อลวด /จ่อพลาสติก 60 ชุด – ถังน้ำขนาด 200 ลิตร 1 ใบ – รองเท้าแตะ 1-2 คู่ – เข่งหรือตะกร้าเก็บใบหม่อน 2 ใบ – ตะกร้าให้อาหาร 4 ใบ – ผ้าคลุมหม่อน (1×1. 5 เมตร) 10 ผืน – ขนไก่/ขนนก 1-2 อัน – ตะเกียบไม้ไผ่ 2 คู่ – ปูนขาวชนิดผงละเอียด 2 – 3 กิโลกรัม หรือแกลบเผา 100 ลิตร – สารเคมีป้องกันโรคไหมชนิดผง (เพบโซล) 1 กิโลกรัม – สารฟอร์มาลีน 3% (ฟอร์มาลีน 40% จำนวน 1 ส่วนผสมน้ำ 13 ส่วน) ใช้ฉีดพ่น อัตรา 1 ลิตร/ตารางเมตร – มุ้งไนล่อน (มุ้งเขียว) 16 ตารางเมตร – กระดาษหนังสือพิมพ์เก่า 5 กิโลกรัม – ผงซักฟอก 1-2 กิโลกรัม – สบู่ล้างมือ 1 ก้อน – เชือกเส้นผ่าศูนย์กลาง 0. 5 ซ. ม. ยาว 2 เมตร 6 เส้น หรือตาข่ายถ่ายมูลสำหรับถ่ายมูลไหมวัยแก่ (ขนาดช่องตาข่าย 3 x 3 ซม2) ขนาด 80 ซม. 40 ผืน ที่มา: กรมหม่อนไหม

ใบ หม่อน เลี้ยง ไหม กับ มั้ย ใบ หม่อน เลี้ยง ไหม ภาษาอังกฤษ
  1. ไอ โมบาย 2.0.3
  2. ชา บู แต้จิ๋ว นราธิวาส
  3. Backdrop งาน บวช ตอน
  4. Tutuapp pokemon go ios โหลด games